6. Clean Water and Sanitation

Ensure availability and sustainable management of water and sanitation for all.

U2T เกษตรศาสตร์ มข. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างต้นแบบเติมน้ำใต้ดิน (ธนาคารน้ำใต้ดิน)”

เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างต้นบ่อเติมน้ำใต้ดิน (ธนาคารน้ำใต้ดิน)” ณ วัดศรีประชาราม บ้านโคกสี ตำบลบ้านฝาง อำเภอบ้านฝาง จังหวัดขอนแก่น ภายใต้โครงการ U2T โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ …

U2T เกษตรศาสตร์ มข. จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การสร้างต้นแบบเติมน้ำใต้ดิน (ธนาคารน้ำใต้ดิน)” Read More »

U2T คณะเกษตรศาสตร์ มข. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “ ต้นแบบบ่อเติมน้ำใต้ดินแบบปิด” ตำบลขัวเรียง อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น

วันศุกร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้จัดกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “ต้นแบบบ่อเติมน้ำใต้ดินแบบปิด” ณ ศาลาประชาคม หมู่ 4 บ้านขามป้อม ตำบลขัวเรียง อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ภายใต้โครงการ U2T โดยมี …

U2T คณะเกษตรศาสตร์ มข. ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “ ต้นแบบบ่อเติมน้ำใต้ดินแบบปิด” ตำบลขัวเรียง อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น Read More »

สัมพันธ์ศิษย์เก่าสา’สุข สร้างสรรค์ต้นแบบระบบบำบัดน้ำเสียหน่วยไตเทียม

วันที่ 9 มิถุนายน 2563 ศิษย์เก่าคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นำโดย นางมาลา สรรพวุธ หัวหน้ากลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด อาจารย์ ดร.ฤทธิรงค์ จังโกฏิ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และ อาจารย์ ดร.ไกรวิชญ์ เรืองฤาหาร คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตสกลนคร ร่วมลงพื้นที่และประชุมหารือร่วมกับโรงพยาบาลหนองพอก จังหวัดร้อยเอ็ด ในการนำผลการศึกษาวิจัยของ อาจารย์ …

สัมพันธ์ศิษย์เก่าสา’สุข สร้างสรรค์ต้นแบบระบบบำบัดน้ำเสียหน่วยไตเทียม Read More »

ศูนย์ฯ EARTH ร่วมมือ 3 หน่วยงานรัฐ ลงพื้นที่ขอนแก่น ดำเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการระบบประปา

คณะสาธารณสุขศาสตร์ มข. โดย ศูนย์ฝึกอบรมวิจัยและการประเมินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม (EARTH) ร่วมกับ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 10 และ กองฝึกอบรมภูมิภาค 2 การประปาส่วนภูมิภาค ได้ดำเนินการ โครงการ “Collaborative research on improvement of water supply in rural communities of Thailand: Khoksi …

ศูนย์ฯ EARTH ร่วมมือ 3 หน่วยงานรัฐ ลงพื้นที่ขอนแก่น ดำเนินงานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการระบบประปา Read More »

นศ.โครงการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม เขต พท.อิตื้อ เดินหน้าสำรวจการจัดการน้ำของชุมชน และค้นหาข้อดีในพื้นที่ อย่างต่อเนื่อง

นักศึกษาโครงการการพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม เขตพื้นที่ตำบลอิตื้อ อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ (ภายใต้โครงการยุวชนอาสา เฟส 1) เดินหน้าสำรวจการจัดการน้ำของชุมชน และค้นหาข้อดีในพื้นที่ อย่างต่อเนื่อง กระบวนการหนึ่ง ใน “โครงการยุวชนอาสา เฟส 1” ในการปฏิรูปประเทศไทยสู่ศตวรรษที่ 21 ด้วยการใช้พลังเยาวชนไทย ในการร่วมเรียนรู้แก้ไขปัญหา …

นศ.โครงการ การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำชุมชน วิเคราะห์และพัฒนาแนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำท่วม เขต พท.อิตื้อ เดินหน้าสำรวจการจัดการน้ำของชุมชน และค้นหาข้อดีในพื้นที่ อย่างต่อเนื่อง Read More »

วนค.ร่วมกิจกรรมจิตอาสาต้านภัยแล้ง จังหวัดหนองคาย

บุคลากรมหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาต้านภัยแล้ง การประสานความร่วมมือแก้ไขปัญหาภัยแล้งอย่างยั่งยืน การแก้ไขปัญหาภัยแล้งอย่างยั่งยืนจังหวัดหนองคาย “กิจกรรมการตรวจความพร้อมของหน่วยงานปฏิบัติการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง โดยมีนายรณชัย จิตรวิเศษ ผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย เป็นประธานในพิธี พร้อมตรวจความพร้อมของหน่วยงานปฏิบัติการแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2563 เวลา 09.00 น. ณ สนามกีฬา …

วนค.ร่วมกิจกรรมจิตอาสาต้านภัยแล้ง จังหวัดหนองคาย Read More »

มข. เผย 3 มาตรการ บริหารจัดการน้ำ สู้ภัยแล้ง

ในภาวะวิกฤติที่ประเทศไทยเผชิญปัญหาภัยแล้ง น้ำในเขื่อนอุบลรัตน์ซึ่งถือเป็นเขื่อนหลักของจังหวัดขอนแก่น อยู่ต่ำกว่าระดับปกติ เรียกว่า ขอดเอาน้ำก้นเขื่อนออกมาใช้ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในฐานะองค์กรทางการศึกษาที่ดำเนินทุกกิจกรรมโดยคำนึงถึงผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมเป็นสำคัญ ตามนโยบาย  Ecological ด้านระบบนิเวศของมหาวิทยาลัย อนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม  ฉะนั้นฝ่ายโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงมีมาตรการบริหารจัดการน้ำในภาวะวิกฤติภัยแล้ง เพื่อประชาคมรอบรั้วมหาวิทยาลัยให้ได้รับผลกระทบน้อยที่สุด ผศ.อาวุธ ยิ้มแต้ รองอธิการบดีฝ่ายโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยขอนแก่น   …

มข. เผย 3 มาตรการ บริหารจัดการน้ำ สู้ภัยแล้ง Read More »

การถ่ายทอดความรู้จากงานวิจัยเชิงพื้นที่สู่ชุมชนและเครือข่าย

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563 ผศ.ดร.อนุชนรา ตาลกุล คัสเธอร์ และ อาจารย์แอนโทนี คัสเธอร์ ได้รับเชิญให้ไปบรรยายและร่วมแลกเปลี่ยนเรื่อง การฟื้นฟูและแก้ปัญหา Eutrophication ในแหล่งน้ำจืด ที่ห้องประชุมสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 10 โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อถ่ายทอดความรู้จากงานวิจัยเชิงพื้นที่ตลอดเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ให้แก่หน่วยงานต่างๆ เพื่อให้สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในพื้นที่ของตน ทั้งนี้ได้มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยตีพิมพ์ที่เกี่ยวข้องจำนวน 4 เรื่อง …

การถ่ายทอดความรู้จากงานวิจัยเชิงพื้นที่สู่ชุมชนและเครือข่าย Read More »

วิศวสิ่งแวดล้อม เผยแพร่เทคโนโลยี DHS ประหยัดพลังงานบำบัดน้ำเสียชุมชน

ในการบำบัดน้ำเสียชุมชน และ น้ำเสียครัวเรือนนั้น โดยทั่วไปจะต้องใช้พลังงานไฟฟ้าในการเดินระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อใช้ในการเติมอากาศลงในน้ำให้เพียงพอต่อการทำงานของจุลินทรีย์ที่ทำหน้าที่ย่อยสลายสิ่งสกปรกในน้ำ จึงทำให้การบำบัดน้ำเสียเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศที่ไม่มีกำลังทรัพย์เพียงพอในการเสียค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าเพื่อการบำบัดน้ำเสีย ดังนั้น ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีนากะโอกะ ประเทศญี่ปุ่น จึงริเริ่มพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียที่ไม่ต้องใช้พลังงานในการเติมอากาศให้กับจุลินทรีย์ในน้ำขึ้น โดยได้ทดลองนำฟองน้ำมาเป็นวัสดุตัวกลางให้จุลินทรีย์เกาะติดและเพียงนำน้ำเสียที่ต้องการบำบัดผ่านตัวกลางฟองน้ำที่มีจุลินทรีย์เกาะติดนี้ด้วยระยะเวลาอันสั้นเพียงไม่กี่ชั่วโมงเท่านั้นก็ได้น้ำที่สะอาดขึ้นได้ จึงเป็นการค้นพบที่สร้างนวัตกรรมในการบำบัดน้ำเสียได้โดยไม่ต้องพึ่งพาพลังงานในการเติมอากาศลงในน้ำ เพื่อเป็นทางเลือกในการบำบัดน้ำเสียโดยไม่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าในการปั๊มอากาศเข้าสู่ระบบ และให้ชื่อเรียกระบบนี้ว่า ระบบดีเอชเอส (Down-flow Hanging Sponge : DHS) ผศ.ดร. …

วิศวสิ่งแวดล้อม เผยแพร่เทคโนโลยี DHS ประหยัดพลังงานบำบัดน้ำเสียชุมชน Read More »